การสัมภาษณ์งาน แบบ Competency Based Interview มุ่งเน้นไปที่การประเมินความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้สมัคร ผ่านคำถามพฤติกรรมและสถานการณ์จำลอง เทคนิคนี้ช่วยให้ผู้สัมภาษณ์เข้าใจศักยภาพของผู้สมัครในการทำงานจริง
18
กันยายน
งานบริหารทรัพยากรมนุษย์ มือใหม่
เพื่อก้าวสู่ HR มืออาชีพ
หลักสูตรนี้จะช่วยให้คุณพัฒนาทักษะ การจัดทำค่าจ้างเงินเดือน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้คุณสามารถจัดทำค่าจ้างเงินเดือน ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และครบถ้วน
ช่วยลดข้อผิดพลาดในการจัดทำค่าจ้างเงินเดือน ส่งผลดีต่อองค์กร
คุณกำลังประสบปัญหาเรื่องค่าจ้างเงินเดือน
คุณกำลังมองหาวิธีแก้ไขปัญหา
ค่าจ้างเงินเดือนให้ถูกต้อง
หลักสูตรเทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll) คือคำตอบของคุณ
พื้นฐานการคิด และคำนวณค่าจ้างเงินเดือน
เรียนรู้การคำนวณค่าจ้างเงินเดือนทั้งทางธุรกิจ และทางกฎหมาย
การกำหนดขั้นตอนการจ่ายค่าจ้างที่มีประสิทธิภาพ
ทำความเข้าใจถึงขั้นตอนที่เป็นมาตรฐาน และทันสมัยในการจ่ายค่าจ้าง
การตรวจเช็คการทำค่าจ้างเงินเดือน และเทคนิคการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
สอนเทคนิคในการตรวจสอบข้อมูลเพื่อป้องกันความผิดพลาด
กระบวนการการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์
เรียนรู้เทคนิค และกระบวนการที่ทำให้ค่าจ้างเงินเดือนไม่มีความผิดพลาด
การสรุปค่าจ้างเพื่อนำเสนอ (Labor Cost)
เรียนรู้การวิเคราะห์ค่าจ้างเงินเดือน เพื่อให้คุณสามารถนำเสนอได้อย่างชัดเจน
การจัดทำรายงานค่าจ้างเงินเดือน
ทำความเข้าใจถึงกระบวนการรายงาน และการเตรียมข้อมูลสำหรับรายงานค่าจ้างเงินเดือน
การใช้โปรแกรมค่าจ้างเงินเดือน
ประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ และโปรแกรมที่ทันสมัยในการจัดทำค่าจ้างเงินเดือน
หลักสูตรนี้
เหมาะกับใคร
หลักสูตรอบรมเทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือน เพื่อให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll) เหมาะกับกลุ่มผู้ที่มีความสนใจ หรือประสบการณ์ในด้านการจัดทำค่าจ้างเงินเดือน และต้องการเพิ่มทักษะเพื่อให้กระบวนการดำเนินไปได้แม่นยำ และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
ผู้ดูแลการจัดทำค่าจ้างเงินเดือน
บุคลากรที่รับผิดชอบในการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนในองค์กร
ผู้บริหาร และผู้จัดการทรัพยากรบุคคล
ผู้บริหาร และผู้จัดการทรัพยากรบุคคลที่ต้องการเข้าใจกระบวนการการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนเพื่อดูแล และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เจ้าหน้าที่การบัญชี และการเงิน
บุคลากรที่มีหน้าที่การบัญชี และการเงิน และต้องการทักษะทางการบัญชีเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับค่าจ้างเงินเดือน
เจ้าหน้าที่ทรัพยากรบุคคล และฝ่ายบุคคล
บุคลากรที่มีหน้าที่ในการจัดการกับข้อมูลทรัพยากรบุคคล และต้องการทราบถึงกระบวนการค่าจ้างเงินเดือน
บุคลากรที่มีหน้าที่ในการจัดการกับข้อมูลทรัพยากรบุคคล และต้องการทราบถึงกระบวนการค่าจ้างเงินเดือน
บุคลากรในฝ่ายการเงิน และบัญชีที่ต้องการทราบถึงการจัดทำค่าจ้างเงินเดือน และวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ตารางอบรม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไร
ให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์
(Zero Error For Payroll)
การอบรมนี้เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการพัฒนาทักษะ และความรู้เพื่อให้สามารถทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างมีประสิทธิภาพ
19
ธันวาคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
20
มกราคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
17
กุมภาพันธ์
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
17
มีนาคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
21
เมษายน
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
20
พฤษภาคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
20
มิถุนายน
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
18
กรกฎาคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
15
สิงหาคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
19
กันยายน
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
17
ตุลาคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
20
พฤศจิกายน
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
19
ธันวาคม
เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ (Zero Error For Payroll)
รูปแบบการจัดคอร์สอบรมแบบสด Virtual Training ผ่านเครื่องมือ ZOOM ด้วยประสบการณ์ของผู้เรียน ที่เทียบเท่ากับการสอนในรูปแบบเดิม
พิเศษสุดๆเรียนจบคอร์สนี้
คุณจะได้รับใบ Certificate เพื่ออัพโปรไฟล์ของคุณ ให้มั่นใจมากยิ่งขึ้น
"การจัดทำค่าจ้างเงินเดือน (payroll)" เป็นงานส่วนหนึ่งของงาน การบริหาร ค่าจ้าง เงินเดือน เป็นส่วนหนึ่งของงานการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (ฝ่ายบุคคล) ซึ่งมีความสำคัญ และเป็นงานที่ต้องใช้ความละเอียดในการจัดทำ การปรับโครงสร้างเงินเดือน เพราะ เงินเดือน และค่าจ้างเป็นความคาดหวังของพนักงานทุกคน เพราะหลังจากเงินเดือนออก แต่ละคนต้องมีการวางแผนการใช้จ่าย ซึ่งถ้าการทำเงินเดือนผิดพลาดจะสร้างปัญหาให้เกิดขึ้นตามมาหลายประการ ยิ่งถ้าองค์กรขนาดใหญ่เป็นพัน ๆ คน ควรมี เทคนิคการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างไรให้เกิดความผิดพลาดเป็นศูนย์ เพื่อทำให้การบริหารค่าจ้างเงินเดือนมีประสิทธิภาพ และลดปัญหาที่จะตามมาจากการทำค่าจ้างเงินเดือนของพนักงาน
วัตถุประสงค์
1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับเทคนิค และแนวทางการจัดทำ (payroll) ค่าจ้างเงินเดือนอย่างไร ให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์
2) เพื่อให้ผู้รับการอบรมสามารถนำเทคนิค และแนวทางการจัดทำการปรับโครงสร้างเงินเดือน และค่าจ้างเงินเดือนอย่างไร ให้มีความผิดพลาดเป็นศูนย์ไปใช้งานได้จริง
สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ
1) ผู้เข้าอบรมจะได้ ความรู้ เทคนิค การจัดทำเงินเดือน พนักงาน กฎหมาย กฎระเบียบต่างๆของบริษัท ที่เป็นปัจจัยหลักของการจ่ายเงินเดือน (Payroll)
2) ผู้เข้าอบรมได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระหว่างผู้เข้าอบรม และคำแนะนำจากวิทยากร เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการทำเงินเดือน พนักงาน และการบริหารค่าจ้างในองค์กร ของตนเองได้ อย่างเหมาะสม
การจัดทำค่าจ้างเงินเดือน มีความสำคัญอย่างไร
การจัดทำค่าจ้างเงินเดือนมีความสำคัญต่อองค์กร ดังนี้
• เป็นปัจจัยสำคัญในการดึงดูด และรักษาพนักงานที่มีความสามารถ
• ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และผลผลิตของพนักงาน
• ช่วยให้องค์กรเกิดความเท่าเทียม และยุติธรรม
• ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างนายจ้าง และลูกจ้าง
องค์ประกอบของค่าจ้างเงินเดือนมีอะไรบ้าง
องค์ประกอบของค่าจ้างเงินเดือนสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้
• ค่าตอบแทนพื้นฐาน (Base Compensation) เป็นค่าตอบแทนที่พนักงานได้รับเป็นประจำทุกเดือน โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งหน้าที่ ระดับความรับผิดชอบ และประสบการณ์ในการทำงาน เช่น เงินเดือน ค่าจ้างรายวัน ค่าจ้างรายชั่วโมง
• ค่าตอบแทนเพิ่มเติม (Variable Compensation) เป็นค่าตอบแทนที่พนักงานได้รับนอกเหนือจากค่าตอบแทนพื้นฐาน โดยขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ผลประกอบการขององค์กร ผลงานของพนักงาน ทักษะและความสามารถพิเศษของพนักงาน เช่น โบนัส ค่าคอมมิชชั่น เบี้ยเลี้ยง ค่าตอบแทนพิเศษ
ขั้นตอนในการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนมีอะไรบ้าง
ขั้นตอนในการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนโดยทั่วไปมีดังนี้
• กำหนดนโยบายค่าตอบแทน นโยบายค่าตอบแทนเป็นแนวทางในการกำหนดค่าตอบแทนขององค์กร โดยควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ เช่น โครงสร้างค่าจ้างของตลาด สภาพเศรษฐกิจ ความสามารถในการแข่งขันขององค์กร
• วิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการในการระบุลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ และ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการทำงานนั้นๆ เพื่อใช้ในการกำหนดค่าตอบแทน
• กำหนดโครงสร้างค่าจ้าง โครงสร้างค่าจ้างเป็นการจัดลำดับตำแหน่งงานตามระดับความรับผิดชอบ และ ค่าตอบแทน โดยควรสอดคล้องกับนโยบายค่าตอบแทนขององค์กร
กำหนดค่าตอบแทนสำหรับแต่ละตำแหน่งงาน
• การกำหนดค่าตอบแทนสำหรับแต่ละตำแหน่งงานควรพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ เช่น ผลการวิเคราะห์งาน โครงสร้างค่าจ้างของตลาด สภาพเศรษฐกิจ ความสามารถในการแข่งขันขององค์กร
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนมีอะไรบ้าง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนในประเทศไทย ได้แก่
• พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
• พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
• พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530
เทคนิคในการจัดทำค่าจ้างเงินเดือนให้มีประสิทธิภาพ
• จัดทำนโยบายค่าตอบแทนที่ชัดเจน และสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร
• วิเคราะห์งานอย่างละเอียดและรอบคอบ เพื่อให้ได้ค่าตอบแทนที่สอดคล้องกับลักษณะงาน และหน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงาน
• กำหนดโครงสร้างค่าจ้างที่สอดคล้องกับนโยบายค่าตอบแทนขององค์กร และ สภาพตลาดแรงงาน
• กำหนดค่าตอบแทนสำหรับแต่ละตำแหน่งงานอย่างยุติธรรม และ เท่าเทียม
• มีการทบทวนค่าตอบแทนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ และ ความต้องการขององค์กร
วิธีการจ่ายค่าจ้างเงินเดือนมีกี่วิธี
วิธีการจ่ายค่าจ้างเงินเดือนมี 2 วิธีหลักๆ ดังนี้
• จ่ายเงินสด เป็นวิธีการจ่ายค่าจ้างเงินเดือนที่พบได้ทั่วไป โดยพนักงานจะได้รับเงินสดตามจำนวนค่าจ้างที่ตกลงกันไว้
• จ่ายผ่านบัญชีธนาคาร เป็นวิธีการจ่ายค่าจ้างเงินเดือนที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน โดยพนักงานจะได้รับเงินเดือนเข้าบัญชีธนาคารตามจำนวนค่าจ้างที่ตกลงกันไว้
คอร์สนี้เหมาะกับใคร?
การอบรมนี้เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการพัฒนาทักษะ และ ความรู้เพื่อให้สามารถทำค่าจ้างเงินเดือนอย่างมีประสิทธิภาพ
การลงทะเบียนและค่าใช้จ่ายของคอร์สนี้?
ข้อมูลเกี่ยวกับการลงทะเบียน
และ ค่าใช้จ่ายของคอร์สนี้ คือ สมาชิก TOPPRO
MEMBER ราคา 3,000 บาท และบุคคลทั่วไป
ราคา 3,500 บาท
บทความที่ HR มือใหม่ อย่างคุณไม่ควรพลาด
การเข้าสู่วงการการจัดการทรัพยากรบุคคล (HR) เป็นการเริ่มต้นที่น่าตื่นเต้นและท้าทายในเวลาเดียวกัน หากคุณเป็น HR มือใหม่
ที่กำลังเข้าสู่หน้าที่นี้ คุณอาจต้องเผชิญกับการเรียนรู้และปรับตัวในสภาวะที่ต้องรับมือกับความซับซ้อนและหลากหลายของภารกิจ
ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การสัมภาษณ์งาน แบบ Competency Based Interview มุ่งเน้นไปที่การประเมินความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้สมัคร ผ่านคำถามพฤติกรรมและสถานการณ์จำลอง เทคนิคนี้ช่วยให้ผู้สัมภาษณ์เข้าใจศักยภาพของผู้สมัครในการทำงานจริง
การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR) เป็นกลไกที่เป็นสำคัญสำหรับการดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ. ช่วงสิ้นปีเป็นเวลาที่สำคัญที่ HR ต้องทำหน้าที่ปรับปรุงและวางแผนเพื่อให้บุคลากรและองค์กรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในปีถัดไป วันนี้ HR-ODTHAI มีบทความเรื่องChecklist สิ่งที่ hr ต้องทำให้เสร็จก่อนสิ้นปี 2566 นี้มาให้คุณได้อ่าน เพื่อให้ HR ได้นำไปประยุกต์ใช้ เพื่อทำให้งานของคุณเสร็จสมบูรณ์ก่อนสิ้นปี
hr มือใหม่ ควรเริ่มต้นอย่างไรดี การเป็น HR มือใหม่นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะต้องรับผิดชอบงานต่างๆ มากมาย เช่น การสรรหาพนักงาน การพัฒนาพนักงาน การบริหารผลประโยชน์ และการสร้างความสัมพันธ์กับพนักงาน เป็นต้น ดังนั้น HR มือใหม่จึงควรเริ่มต้นด้วยการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับงาน HR และพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ …
สถาบัน TOPPRO ของเรา ได้รับการรับรองจากมาตรฐานสากล ISO 9001 เป็นระบบบริหารงาน
คุณภาพตามมาตรฐานสากล เพื่อการประกันคุณภาพ และลูกค้าสามารถมั่นใจในมาตรฐาน
การบริการฝึกอบรมสัมมนา
สถาบันฝึกอบรมและที่ปรึกษาทางด้าน
การบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์กร
บริการให้คำปรึกษาด้านระบบ ISO
แบบครบวงจร
Contact info
ข่าวสารงาน HR ส่งตรงถึงคุณ
กรอกอีเมลเลยวันนี้เพื่อติดตามเรื่องราวสำหรับหัวหน้างานและสิทธิพิเศษจาก TOPPRO ได้ก่อนใคร